CCNA2 : Chapter 4 Distance Vector Routing Protocols

CCNA2 : CCNA Exploration Routing Protocols and Concepts – 4.0

Chapter 4 : Distance Vector Routing Protocols

•    Introduction to Distance Vector Routing Protocols

–    Router ที่ใช้ Distance Vector Routing จะไม่รู้เส้นทางทั้งหมดที่ไปยัง destination network จะรู้เพียง เส้นทางหรือ interface ที่ packet จะถูก forward ไป และ ระยะทางจากตัว router ไปยัง destination network
–    Distance vector routing protocols จะมีการ share

1.    Periodic Updates : RIP ส่งทุกๆ 30 วินาที, IGRP ส่งทุกๆ 90 วินาที
2.    Neighbors : เป็น routers ที่มีการใช้ link และถูก config ใน routing protocol เดียวกัน
3.    Broadcast Update : จะถูกส่งไปยัง 255.255.255.255
4.    Entire Routing Table Updates : จะถูกส่งไปยัง neighbor เป็นช่วงเวลา

–    The Purpose of the Algorithm : 1. ส่งและรับการ update 2. เลือกเส้นทางที่ดีที่สุดและ install เส้นทางนั้น 3. ตรวจจับและตอบสนองเมื่อ topology มีการเปลี่ยนแปลง

•    Network Discovery

–    ตอนเริ่ม router (cold starts หรือ powers up) มันจะยังไม่รู้อะไรเกี่ยวกับ network topology เลย ข้อมูลที่มีจะเป็นข้อมูลของ saved configuration file ที่เก็บอยู่ใน NVRAM
–    หลังจากที่ router เริ่มหรือ cold start ก่อนที่จะมีการแลกเปลี่ยนข้อมูล มันจะเริ่มค้นหา directly connected networks และsubnet masks ของมันก่อน แล้วทำการเพิ่มข้อมูลที่ได้ใส่ routing table
–    เมื่อ routing protocol ถูกตั้งค่าเสร็จแล้วก็จะเริ่มการแลกเปลี่ยน routing updates
–    speed of achieving convergence ประกอบด้วย 1. ความเร็วของ router ในการกระจายข่าวไปยังเพื่อนบ้านเมื่อมีการการเปลี่ยนแปลง topology 2. ความเร็วในการคำนวนหาเส้นทางที่ดีที่สุดโดยใช้ข้อมูลเส้นทางใหม่ที่ได้รับ

•    Routing Table Maintenance

–    การเปลี่ยนแปลงของ topology เกิดขึ้นเมื่อ 1. สายเสีย 2. การรู้จักเส้นทางใหม่ 3. Router เสีย 4. การเปลี่ยนแปลงค่าของสาย
–    RIP Timers : เมื่อเวลาที่มีการเปลี่ยนแปลง IOS ได้เพิ่ม timer สำหรับ RIP ดังนี้

1.    Invalid : ถ้าไม่ได้รับการอัพเดตหลังจาก 180 นาที router นั้นจะถูก mark ว่า invalid โดยเซ็ตค่า Metric เป็น 16
2.    Flush : ถูกตั้งค่าไว้ที่ 240 วินาที เมื่อเกินเวลา router จะถูกเอาออกจาก routing table
3.    Holddown : ช่วยในการป้องกัน loop ในแต่ละช่วงเวลาที่ topology มีการรับรู้ข้อมูลใหม่ , ปกติจะถูกตั้งค่าที่ 180 วินาที

–    EIGRP จะส่งการอัพเดตแบบ bounded updates
–    RIP ใช้ triggered updates ซึ่งจะส่งการอัพเดตทุกครั้งที่เส้นทางมีการเปลี่ยนแปลง เช่น interface เปลี่ยนสถานะ, เส้นทางอยู่ในสถานะ unreachable, มีเส้นทางใหม่

•    Routing Loops

–    routing loop เป็นลักษณะเมื่อ Packet ถูกส่งเป็น loop โดยไม่สามารถไปยังปลายทางได้
–    การป้องการ routing loop จะใช้ holddown timers หรือ split horizon (router จะไม่ส่งการอัพเดตผ่านไปยัง interface ที่มีการอัพเดตเข้ามา , routers learned through and interface are not advertised out that same interface) หรือ Route Poisoning (ถูกใช้ในการ mark เส้นทางที่ไปไม่ถึงในการอัพเดตส่งไปยัง router ตัวอื่น ,routers learned through an interface are advertised back out the same interface as unreachable) หรือ split horizon with poison reverse
–     Time to Live (TTL) เป็น field ที่มีขนาด 8- bit ที่อยู่ใน IP header ซึ่งเป็นเลขทีจำกัดจำนวน hop ที่ packet จะสามารถเดินทางไปได้

•    Distance Vector Routing Protocols today

–    การเลือกใช้ routing protocol ขึ้นกับ ขนาดของ network, Compatibility ระหว่าง รุ่นของ router , ความรู้ของผู้ดูแล
–    RIP

ลักษณะ : สนับสนุน split horizon และ split horizon with poison reverse ในการป้องกันการเกิด loops, metric จำกัดที่ 15 hops, ตั้งค่าได้ง่าย, เหมาะกับเน็ตเวิร์กขนาดเล็ก
RIPv2 เพิ่ม 1. ส่ง subnet mark ไปด้วย 2.มีระบบ Authentication 3. สนับสนุน VLSM 4. ใช้ multicast addresses แทนการ broadcast

–    EIGRP

ลักษณะ  : เป็น Routing Protocol ที่ Cisco ได้พัฒนาขึ้นมาเอง และไม่ได้เป็น standard เหมือนกับ RIP หรือว่า OSPF. โดยได้พัฒนาต่อจาก IGRP (Interier Gateway Routing Protocol), เป็น classless

Leave a comment