CCNA1 : Chapter 6 Addressing the Network: IPv4

CCNA1 : CCNA Exploration Network Fundamentals – 4.0

Chapter 6 Addressing the Network: IPv4

>IPv4 AddressesAnatomy of an IPv4 Address

Binary-to-Decimal Conversion : การแปลงเลขฐานสองเป็นฐานสิบ

Decimal-to-Binary Conversions : การแปลงเลขฐานสิบเป็นฐานสอง

Addressing Types of Communication : Unicast, Broadcast, Multicast

– Network address : แอดเดรสของเครือข่ายใดๆ ซึ่งที่ใช้เป็นตัวแทนของเครือข่ายนั้นๆ
– Broadcast address : แอดเดรสพิเศษที่ใช้เป็นช่องทางของการส่งข้อมูลให้กับโฮสอื่นๆ
– Host addresses : แอดเดรสที่กำหนดให้ end device ในเครือข่าย
*Network Prefixes หรือ  prefix length เป็นจำนวนของบิตในแอดเดรสที่บอก network portion เช่น 172.16.4.0 /24 สังเกตว่า /24 คือ  prefix length ที่บอกเราว่า 24 บิตแรกเป็น network address และอีก 8 บิตท้ายเป็น host portion

>IPv4 Addresses for Different Purposes

Types of Addresses in an IPv4 Network Range

Calculating Network,Host and Broadcast Addresses

subnet2.gif

Thank for Pic :  http://www.ncsa.uiuc.edu

– ขั้นตอนการคำนวนมีดังนี้
1. พิจารณาว่า address อยู่ class อะไร ซึ่งจะทำให้รู้ Default Subnet mask
2. พิจารณา prefix length หรือ  Subnet Mask ซึ่งก็คือหมายเลขหลังเครื่องหมาย “/” จะทำให้รู้ NetID และHost address
3. หา Network Address โดยนำ address มา & กับ Subnet address ถ้า้ต้องการหา Broadcast Address ให้เปลี่ยน Host ID เป็น 1 ทั้งหมด
4. ถ้าต้องการหาจำนวน subnet ทั้งหมด ให้เอา 2^Subnet address
5. ถ้าต้องการหาจำนวน Host ทั้งหมดของแต่ละ subnet ให้เอา 2^Host address

– ตัวอย่าง เช่น 168.52.148.116 /28
1. พิจารณา address แล้วรู้่ว่าอยู่ใน Class b ซึ่งมี Default Subnet mask คือ 255.255.0.0 ซึ่งเราจะเข้าไปแก้ไขได้เพียง 16 บิตท้ายเท่านั้น
2. พิจารณา /28 ทำให้รู้ว่า NetID คือ 28 บิตแรก และ Host address คือ 4 บิตหลัง เมื่อเขียน address ให้อยู่ในรูปฐานสองจะได้ว่า 11111111.11111111.11111111.11110000
3. นำ address มา & กับ Subnet

11111111.11111111.11111111.11110000 (255.255.0.0)
&
10101000.00110100.10010100.01001110 (168.52.148.116)
10101000.00110100.10010100.01000000 (168.52.148.112)  >> Network Address

10101000.00110100.10010100.01111111 (168.52.148.127)  >> Broadcast Address

4. จำนวน subnet ทั้งหมด ให้เอา 2^Subnet address จะได้ 2^12 = 4096
5. จำนวน Host ทั้งหมดของแต่ละ subnet ให้เอา 2^Host address จะได้ 2^4 = 16

Unicast,Broadcast,Mulicast – Types of Communication

– Unicast : กระบวณการส่งแพ็กเกตจากผู้ส่งรายเดียว กับผู้รับรายเดียวบนเครือข่าย (one-to-one)
– Broadcast : กระบวณการส่งแพ็กเกตจากผู้ส่งรายเดียว กับผู้รับหลายรายบนเครือข่าย (one-to-all)

1. Directed broadcast : หมายถึงการส่งแพ็กเก็ตข้อมูลไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในระบบเครือข่าย ลักษณะของ IP Address จะให้ Host Address หรือ Suffix บิตเป็น 1 ทั้งหมด เช่น ต้องการส่งข้อมูลไปยังเครือข่าย 143.134.23.44 ก็ส่งไปยัง 143.134.255.255
2. Limited broadcast : หมายถึงการส่งข้อมูลแบบกระจาย (Broadcasting) ไปยัง Local Physical Notwork ซึ่งลักษณะของ IP Address แบบนี้ก็ง่ายมากคือ มีค่าเป็น 1 หมดทุกบิตเลย (255.255.255.255)

– Multicast : กระบวณการส่งแพ็กเกตจากผู้ส่งรายเดียว กับผู้รับหลายรายบนเครือข่าย (one-to-many)

Resesrved IPv4 Address Ranges

– Host Addresses :
– Multicast Addresses :
– Experimental Addresses :

Public and Private Addresses

– Public Addresses : หมายถึง IP Address ที่ใช้ในเครือข่าย Internet โดยจะต้องขอไปยังหน่วยงานที่กำกับดูแล IP Address ในแต่ละประเทศ ซึ่งแน่นอนว่าแต่ละหน่วยงานที่ขอ IP Address ต้องได้หมายเลขที่ไม่ซ้ำกับใครเลยในโลกนี้
– Private Addresses : หมายถึง IP Address ที่ไม่ใช้บน Internet และไม่สามารถติดต่อกับ Public IP ได้ แต่เราสามารถใช้เทคนิค ที่เรียกว่า NAT (Network Address Translation) เข้าช่วยได้ และ Private IP สามารถกำหนดขึ้นใช้ได้เอง โดยทั่วไปใช้กับ Intranet ในหน่วยงาน
* The private address blocks are:
10.0.0.0 to 10.255.255.255 (10.0.0.0 /8)
172.16.0.0 to 172.31.255.255 (172.16.0.0 /12)
192.168.0.0 to 192.168.255.255 (192.168.0.0 /16)

Special IPv4 Addresses

– Network and Broadcast Addresses : address แรกจะถูกจองไว้สำหรับเป็นชื่อของเครือข่าย และ address สุดท้ายเอาไว้ใช้เป็น Broadcast Addresses
– Default Route : ใน Pv4 จะมี default route คือ  0.0.0.0 โดยจะใช้ 0.0.0.0 – 0.255.255.255 (0.0.0.0 /8)
– Loopback : หมายถึง IP Address ที่ใช้เพื่อให้ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์นั้นส่งข้อมูลกลับมาหาตัวเอง โดยเจ้า Loopback Address นั้นมีไว้เพื่อทดสอบแอพพลิเคชันของระบบเครือข่าย เช่น  IP Address เป็น 127.0.0.1
– Link-Local Addresses : ใน IPv4 จะใช้ address ในช่วง 169.254.0.0 ถึง 169.254.255.255 (169.254.0.0 /16)
– TEST-NET Addresses :  ใน IPv4 จะใช้ address ในช่วง 192.0.2.0 ถึง 192.0.2.255 (192.0.2.0 /24)

Legacy IPv4 Addressing

– Classful Addressing : เป็นวิธีการจัด IP Address โดยแบ่งออกเป็น 5 class คือ A B C D E ซึ่งเราจะสามารถดูว่าแอดเดรสอยู่คลาสไหนได้จาก บิตที่อยู่ด้านหน้า

ipclasses.png

Thank for pic : http://www.tcpipguide.com/free/diagrams/ipclasses.png

Class Leading Bit Number Bit field* Size of Rest

Bit field

Start End Default subnet mask
Class A 0 8 24 0.0.0.0 127.255.255.255 255.0.0.0
Class B 10 16 16 128.0.0.0 191.255.255.255 255.255.0.0
Class C 110 24 8 192.0.0.0 223.255.255.255 255.255.255.0
Class D 1110 not defined not defined 224.0.0.0 239.255.255.255 not defined
Class E 1111 not defined not defined 240.0.0.0 255.255.255.255 not defined

ที่มา : http://en.wikipedia.org/wiki/Classful_network

>Assigning Addresses

Planning to Address the Network : การวางแผนการจัดการแอดเดรสของเครือข่าย

– ต้องไม่ให้มีการซ้ำของแอดดรส
– วางแผนในการใช้งาน resource และการเข้าถึง
– ตรวจสอบในเรื่องความปลอยภัย และ ประสิทธิภาำำพ

Static or Dynamic Addressing for End-User Devices

– Static Addressing : เป็นการกำหนด IP address อย่างถาวร ทำให้ address เหล่านี้จะไม่เปลี่ยนเปลงไม่ว่าจะใช้งานไปนานเท่าใด แต่ถ้า IP address นั้นไม่ได้ถูกใช้งาน จะทำให้สูญเสีย IP address นั้นไป
– Dynamic Addressing : เป็นการกำหนด IP address ให้เปลี่ยนแปลงไปตามระยะเวลา ถ้าหาก address ใดไม่ถูกใช้งานก็จะสามารถนำไปแจกต่อให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นที่ ต้องการใช้งานต่อไปได้ โดยจะใช้ Dynamic Host Configuration Protocol (DHCP)

Assinging Addresses to Other Devices

–  Servers and Peripherals : ควรกำหนดแบบ static IPv4 address
– Hosts that are Accessible from Internet : ควรกำหนดแบบ static IPv4 address
– Intermediary Devices :  เช่น  hubs, switches, wireless access points ควรกำหนดแบบ static IPv4 address
– Routers and Firewalls

Who Assingns the Different Addresses?

– Internet Assigned Numbers Authority (IANA) เป็นองค์กรที่ทำหน้าที่เป็นผู้ประสานงานกลาง ในการกำหนด จัดสรร ค่า parameter ที่เฉพาะเจาะจงต่างๆ ของ Internet protocols
RIRs (Regional Internet Registry) ถูกก่อตั้งขึ้นโดยได้รับสิทธิจาก IANA เพื่อให้บริการ และเป็นตัวแทนของภูมิภาค (region) ขนาดใหญ่ บทบาทสำคัญของ ของ RIRs ได้แก่ การจัดการ และจัดสรร Internet address space ภายใน region โดยมีหน้าที่กำกับ และดูแลรับผิดชอบการแจกจ่าย Internet address space สาธารณะ และทรัพยากรที่เกี่ยวข้องภายในภูมิภาค ปัจจุบัน มี 4 RIRs ได้แก่ : APNIC, RIPE NCC, LACNIC และ ARIN.

ISPs

– ISP คือ ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต หรือ Internet Service Provider เป็นหน่วยงานที่บริการ ให้เชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล หรือเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ของบริษัท เข้ากับเครือข่าย อินเทอร์เน็ตทั่วโลก เสมือนตัวแทนของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต เพื่อเข้าถึงแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ถ้าผู้ใช้อินเทอร์เน็ต ต้องการข้อมูลต่างๆ ก็สามารถติดต่อผ่าน ISP ได้ทุกเวลา ตลอด 24 ชั่วโมง โดยการใช้บริการอินเตอร์เน็ต ผ่านผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ตทั่วไป
– ISP แบ่งได้เป็น
Tier 1 : ข้อดีหลักคือ ความน่าเชื่อถือ และความเร็ว เนื่องจากเป็นชั้นที่อยู่ติดกับ Internet Backbone แต่ว่าจะมีค่าใช้จ่ายสูง
Tier 2 : ส่วนใหญ่เน้นไปที่ลูกค้าที่เป็นส่วนของธุรกิจ
Tier 3 : ส่วนใหญ่เน้นไปที่ลูกค้าทั่วไป หรือใช้งานตามบ้าน

Overview of IPv6

IPv6.jpg

>Testing the Network Layer

Ping 127.0.0.1: Testing the Local Stack

Ping คือโปรแกรมที่เป็นเครื่องมือเกี่ยวกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
– คำสั่ง ping เป็นคำสั่งที่ใช้ตรวจสอบเวลาที่ใช้ในการเดินทางของแพ็กเก็ตระหว่างต้นทางกับปลายทาง
– Ping 127.0.0.1ใช้เพื่อให้ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์นั้นส่งข้อมูลกลับมาหาตัวเอง

Ping Gateway: Testing Connectivity to the Local LAN

– ใช้ทดสอบว่าโฮสต์ปลายทางได้เชื่อมต่อกับระบบไอพีอยู่หรือไม่ โปรแกรม Ping ทำงานโดยการส่งข้อมูล ICMP ประเภท “echo request” ไปยังโฮสต์เป้าหมาย และรอคอยการตอบรับเป็นข้อมูล “echo reply” กลับมา

Traceroute (tracert): Testing the Path

tracert เป็นคำสั่งที่ใช้ตรวจสอบเส้นทางการวิ่งของแพ็กเก็ตว่ามันวิ่งผ่านเร้าเตอร์ ตัวไหนบ้าง โดยโปรแกรม Traceroute จะรายงานออกมาเป็นชื่อโดเมนเนม  เราสามารถที่จะกำหนดให้มันแสดงออกมาเป็นไอพีแอดเดรสก็ได้เช่นกัน  นอกจากนี้คำสั่ง traceroute อาจจะทำให้เราสามารถทราบชื่อเครื่องปลายทางได้

ICMPv4: The Protocol Supporting Testing and Messaging

ICMP เป็นโพรฑตคอลที่อยู่ใน Network Layer แต่ Message ของโพรโตคอลนี้จะไม่ถูกส่งไปยัง Data Link Layer โดยทันที แต่จะต้อง Encapsulate เป็น IP datagram ก่อนจึงส่งไปยัง Data Link Layer
– หน้าที่หลักของ ICMP คือ รายงานความผิดพลาดของการส่งข้อมูล แต่จะไม่สามารถแก้ไขความผิดพลาดของข้อมูลได้
– ประเภทของ Message

Host confirmation : การตอบรับจาก host
Unreachable Destination or Service : ไม่สามารถติดต่อปลายทางได้
Time exceeded : ใช้เวลาเกินกำหนด
Route redirection : แจ้งเส้นทางที่เหมาะสม
Source quench : ให้ต้นทางลดภาระงาน

bot2.gifเพิ่มเติม

Address และ Subnet Mask
IP Address and Domain Name Services
หมายเลขไอพี และการจัดสรร

Leave a comment